.
นักวิจัยเข้าสู่ระบบ
ลงทะเบียนนักวิจัย
แอดมินเข้าสู่ระบบ
อาทิตย์ ที่ 1 ธันวาคม 2567
หน้าหลัก
งานวิจัย
บทความ/วารสาร
นวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์
ข่าวประชาสัมพันธ์
เอกสารดาวน์โหลด
สถิติ/รายงาน
รายงานข้อมูลประวัตินักวิจัย
รายงานข้อมูลผลงานวิจัย
รายงานข้อมูลจำนวนนักวิจัยแยกตามสาขาเชี่ยวชาญ
รายงานข้อมูลจำนวนนักวิจัยแยกตามหน่วยงานที่สังกัด
รายงานข้อมูลจำนวนนักวิจัยแยกตามประเภทนักวิจัย
คู่มือการใช้งาน
สำหรับนักวิจัย
สำหรับแอดมิน
สำหรับผู้บริหาร
1
ข้อมูล นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์
ถอยกลับ
ชื่อนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ :
*
การประยุกต์ใช้เทอร์โมอิเล็กทริกในการทำความเย็น Application of Thermoelectric in Cooling System
ยุทธศาสตร์ :
*
สาขาของนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ :
*
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
หลักการและเหตุผล :
*
ในปัจจุบันปัญหาการขาดแคลนพลังงานมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดการกระตุ้นด้านเทคโนโลยีการอนุรักษ์และหาแหล่งพลังงานสำรองเพื่อรองรับปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าวเทคโนโลยีหนึ่งที่น่าสนใจคือเทคโนโลยีการทำความเย็นด้วยเทอร์โมอิเล็กทริกโดยอาศัยความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างผิวทั้งสองด้านของเทอร์โมอิเล็กทริกทั้งนี้การนำโซล่าเซลล์มาเป็นแหล่งจ่ายพลังงานให้กับเทอร์โมอิเล็กทริกเพื่อทำความเย็นเป็นการนำพลังงานทดแทนกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ที่ผ่านมาส่วนใหญ่จะมีการใช้พลังงานสิ้นเปลืองมาเป็นแหล่งจ่ายไฟฟ้าให้กับเทอร์โมอิเล็กทริกเพื่อทำความเย็นส่งผลให้ประสิทธิภาพของการใช้ไฟฟ้าลดลง การทำความเย็นโดยใช้เทอร์โมอิเล็กทริก (Thermoelectric Refrigeration) หลักการทำความเย็นโดยใช้เทอร์โมอิเล็กทริกนี้ ได้มีการค้นพบตั้งแต่ปี พ.ศ.2377 โดยมีหลักการอยู่ที่การถ่ายเทพลังงานความร้อนจากที่หนึ่งไปสู่ที่หนึ่งในระบบนี้ใช้อิเล็กตรอนเป็นตัวกลางในการทำความเย็นแทนที่จะใช้น้ำยาแอร์เป็นตัวกลาง สามารถประยุกต์ใช้ได้กับระบบแอร์ตรงที่ระบบเทอร์โมอิเล็กทริกสามารถถ่ายเทความร้อนจากภายในบริเวณที่มีฉนวนกันความร้อนล้อมรอบด้วยตัวกลางที่เรียกว่าอิเล็กตรอนนำออกไปถ่ายเทยังภายนอกของบริเวณที่ต้องการทำความเย็นเพื่อช่วยเพิ่มอัตราการดูดรับปริมาณความร้อนจากทางด้านคอล์ยเย็นและทางด้านนอกก็จะใช้ครีบช่วยเพิ่มพื้นผิวในการถ่ายเทความร้อนออกให้กับอากาศโดยรอบเช่นกันจะเห็นได้ว่าเครื่องทำความเย็นระบบเทอร์โมอิเล็กทริกไม่จำเป็นต้องมีอุปกรณ์ใดๆที่เคลื่อนไหวแต่การทำความเย็นในระบบเทอร์โมอิเล็กทริกผลของความเย็นที่ได้รับยังน้อยมาก เมื่อเทียบกับระบบคอมเพรสเซอร์แบบอัดไอ รูปที่ 1-1 เทอร์โมอิเล็กทริก ที่มา : https://sites.google.com/site/powermut/phost-him/thexrmoxilekthrik เพื่อเป็นการประหยัดพลังงานอีกแบบหนึ่งการนำเอาพลังงานทดแทนมาใช้ให้เกิดประโยชน์โดยการนำพลังงานทดแทนมาใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆโดยใช้แผงโซล่าเซลล์เป็นตัวจ่ายไฟฟ้าให้กับระบบปัจจุบันประเทศไทยใช้ตู้เย็นแบบใช้ไฟฟ้าโดยตรงจึงมีค่าใช้จ่ายไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้นและตู้เย็นที่มีสารทำความเย็น CFC หรือคลอโรฟลูออโรคาร์บอน สารนี้เป็นมลพิษต่อชั้นบรรยากาศทำให้เกิดก๊าซเรือนกระจกและเกิดโลกร้อนเพิ่มมากขึ้นสนใจในการลดค่าใช้จ่ายลดมลพิษที่เกิดจากสารทำความเย็นโดยการนำพลังงานทดแทนมาใช้ให้เกิดประโยชน์โดยการคิดค้นตู้เย็นเทอร์โมอิเล็กทริกขึ้นมาเพื่อลดมลพิษทางอากาศโดยใช้แผ่นเทอร์โมอิเล็กทริกเป็นตัวทำความเย็นแทนสารทำความเย็นและใช้โซล่าเซลล์เป็นตัวจ่ายไฟฟ้าให้กับตู้เย็นเป็นการนำเอาพลังงานทดแทนมาใช้ให้เกิดประโยชน์และเพื่อลดค่าใช้จ่ายได้อีก
ประเภทความรับผิดชอบ :
*
ผู้ร่วมโครงการ
ผู้ร่วมโครงการอื่นๆ (ถ้ามี) :
ระบุผู้ร่วมโครงการภายใน
ระบุผู้ร่วมโครงการภายนอก
ที่มาแหล่งทุน :
*
แหล่งทุนภายนอก :
*
ระบุแหล่งทุนภายนอกอื่นๆ :
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)
แหล่งทุนภายใน :
จำนวนงบประมาณ :
*
29550
ปีที่ได้รับทุน :
*
2561
ปีที่เสร็จสิ้น :
ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ :
เลขที่ คำขอ/สิทธิบัตร :
เว็บไซต์ตรวจสอบสิทธิบัตร :
ไฟล์ fullpaper PDF:
ไฟล์ ภาพนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์:
นักวิจัยเข้าสู่ระบบ
×
Login
ลงทะเบียนนักวิจัย
×
* ระบุสาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ (เลือกได้มากกว่า 1 รายการ)
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
สาขาปรัชญา
สาขานิติศาสตร์
สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
สาขาเศรษฐศาสตร์
สาขาสังคมวิทยา
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
สาขาการศึกษา
ดนตรีวิทยา
มานุษยดุริยางควิทยา
ดนตรีศึกษา
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร ์
การจัดการการบิน
บริหารธุรกิจ
เทคโนโลยีอาหาร/โภชณาการอาหาร
การโรงแรม
วิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์
พยาบาลศาสตร์
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การท่องเที่ยว
ท่องเทียว - ชุมชนผูัสูงอายุ
วิศวกรรมศาสตร์ - พลังงาน
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย - ช่างยนต์
ลงทะเบียน
แอดมินเข้าสู่ระบบ
×
Login
ลงทะเบียนนักวิจัย Test
×
* ระบุสาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ (เลือกได้มากกว่า 1 รายการ)
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
สาขาปรัชญา
สาขานิติศาสตร์
สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
สาขาเศรษฐศาสตร์
สาขาสังคมวิทยา
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
สาขาการศึกษา
ดนตรีวิทยา
มานุษยดุริยางควิทยา
ดนตรีศึกษา
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร ์
การจัดการการบิน
บริหารธุรกิจ
เทคโนโลยีอาหาร/โภชณาการอาหาร
การโรงแรม
วิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์
พยาบาลศาสตร์
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การท่องเที่ยว
ท่องเทียว - ชุมชนผูัสูงอายุ
วิศวกรรมศาสตร์ - พลังงาน
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย - ช่างยนต์
ลงทะเบียน