.
นักวิจัยเข้าสู่ระบบ
ลงทะเบียนนักวิจัย
แอดมินเข้าสู่ระบบ
อาทิตย์ ที่ 1 ธันวาคม 2567
หน้าหลัก
งานวิจัย
บทความ/วารสาร
นวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์
ข่าวประชาสัมพันธ์
เอกสารดาวน์โหลด
สถิติ/รายงาน
รายงานข้อมูลประวัตินักวิจัย
รายงานข้อมูลผลงานวิจัย
รายงานข้อมูลจำนวนนักวิจัยแยกตามสาขาเชี่ยวชาญ
รายงานข้อมูลจำนวนนักวิจัยแยกตามหน่วยงานที่สังกัด
รายงานข้อมูลจำนวนนักวิจัยแยกตามประเภทนักวิจัย
คู่มือการใช้งาน
สำหรับนักวิจัย
สำหรับแอดมิน
สำหรับผู้บริหาร
1
ข้อมูล นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์
ถอยกลับ
ชื่อนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ :
*
เครื่องปอกเปลือกกลีบกระเทียมที่ใช้ในครัวเรือน
ยุทธศาสตร์ :
*
สาขาของนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ :
*
หลักการและเหตุผล :
*
กระเทียมเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความสำคัญชนิดหนึ่งของคนไทยมาช้านาน เป็นพืชสมุนไพรที่ถูก นำมาใช้ประโยชน์หลายประการเป็นส่วนหนึ่งของการแพทย์พื้นบ้าน ปัจจุบันความต้องการกระเทียมมีเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากประโยชน์ของกระเทียมทำให้ผู้คนหันมาให้ความสำคัญมากขึ้น มีการนำกระเทียมมารักษาแผล เป็นยาบำรุงกระเพาะอาหารและลำไส้ ใช้เป็นยาต่อต้านระดับไขมันในผู้มีคลอเรสเตอรอลสูงช่วยบำรุงสมอง เป็นต้น มีคุณค่าทางโภชนาการหลายด้านด้วยกัน ดังนี้ โปรตีนคาร์โบไฮเดรต ไขมันและน้ำมันหอมระเหย ปัจจุบันมีการนำกระเทียมมาผลิตในรูปแบบพัฒนา เช่นสกัดสารในรูปแบบแคปซูลอัดเม็ดและกระเทียมผง นอกจากนั้นกระเทียมยังสามารถนำไปใช้เพื่อลดกลิ่นคาวและเพิ่มรสชาดให้ชวนรับประทานอีกด้วย ในปัจจุบันการผลิตกระเทียมเพื่อการส่งออกจะผลิตออกมาเป็น ๓ ประเภท คือ กระเทียมสด / แช่แข็ง กระเทียมสดแห้งไม่เป็นผงและกระเทียมแห้งเป็นผง ซึ่งการที่จะนำกระเทียมไปผ่านกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์กระเทียมตามที่ต้องการ มีความจำเป็นที่จะต้องนำเปลือกกระเทียมออกก่อนและเนื่องจากเปลือกกระเทียมนั้นบางและติดผิวกระเทียม ทำให้ปอกเปลือกได้ลำบาก อีกทั้งสารระเหยในกระเทียมมีกลิ่นแรงและส่งกลิ่นติดมือผู้ปอกเปลือกอีกด้วย ในการปอกกระเทียมคนไทยส่วนใหญ่จะใช้มีดในการปอกเปลือก โดยอาศัยแรงงานจากคนซึ่งจะใช้เวลานาน อัตราการปอกเปลือกด้วยมือต่อคน กระเทียมพันธุ์หนักมีอัตราการปอกเปลือกต่อคนเท่ากับ ๔.๓ กิโลกรัมต่อชั่วโมง ในปัจจุบันในต่างประเทศนั้นได้มีเทคนิคการปอกเปลือกกระเทียมโดยใช้แผ่นยางในการขัดสีกันจะใช้แผ่นยางเป็นตัวปอก ซึ่งจะวางกลีบกระเทียมไว้กลางแผ่นยางแล้วม้วนแผ่นยาง จากนั้นก็ทำการกลิ้งไปมาจนเปลือกกระเทียมหลุดออก จากการปอกแบบใช้แผ่นยางทำให้มีแนวคิดในการทำเครื่องปอกกระเทียมโดยใช้หลักการของแรงเสียดทาน เมื่อวัตถุ ๒ อันมีผิวสัมผัสกันแรงเสียดทานจะมีทิศทางตรงกันข้าม ทำให้ผิวหน้าสัมผัสของวัตถุหนึ่งเลื่อนหรือพยายามจะเลื่อนทำให้เกิดแรงเฉือนให้ผิวกระเทียมเกิดการฉีกขาด (กิตติรัตน์,๒๕๔๘) ดังนั้น คณะผู้จัดทำได้ตระหนักถึงปัญหานี้ จึงได้คิดประดิษฐ์เครื่องปอกเปลือกกลีบกระเทียมที่มีขนาดเล็ก เหมาะสำหรับครัวเรือนและผู้ประกอบการขนาดเล็ก และใช้วัสดุที่ตรงตามมาตรฐาน GMPราคาไม่แพงเหมาะสำหรับครัวเรือนและร้านอาหารที่จำเป็นต้องใช้กระเทียม เพื่อเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารเพื่อจำหน่าย
ประเภทความรับผิดชอบ :
*
หัวหน้าโครงการ
ผู้ร่วมโครงการอื่นๆ (ถ้ามี) :
ระบุผู้ร่วมโครงการภายใน
ระบุผู้ร่วมโครงการภายนอก
ที่มาแหล่งทุน :
*
แหล่งทุนภายนอก :
*
ระบุแหล่งทุนภายนอกอื่นๆ :
แหล่งทุนภายใน :
จำนวนงบประมาณ :
*
15
ปีที่ได้รับทุน :
*
2559
ปีที่เสร็จสิ้น :
ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ :
เลขที่ คำขอ/สิทธิบัตร :
เว็บไซต์ตรวจสอบสิทธิบัตร :
ไฟล์ fullpaper PDF:
ไฟล์ ภาพนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์:
นักวิจัยเข้าสู่ระบบ
×
Login
ลงทะเบียนนักวิจัย
×
* ระบุสาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ (เลือกได้มากกว่า 1 รายการ)
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
สาขาปรัชญา
สาขานิติศาสตร์
สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
สาขาเศรษฐศาสตร์
สาขาสังคมวิทยา
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
สาขาการศึกษา
ดนตรีวิทยา
มานุษยดุริยางควิทยา
ดนตรีศึกษา
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร ์
การจัดการการบิน
บริหารธุรกิจ
เทคโนโลยีอาหาร/โภชณาการอาหาร
การโรงแรม
วิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์
พยาบาลศาสตร์
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การท่องเที่ยว
ท่องเทียว - ชุมชนผูัสูงอายุ
วิศวกรรมศาสตร์ - พลังงาน
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย - ช่างยนต์
ลงทะเบียน
แอดมินเข้าสู่ระบบ
×
Login
ลงทะเบียนนักวิจัย Test
×
* ระบุสาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ (เลือกได้มากกว่า 1 รายการ)
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
สาขาปรัชญา
สาขานิติศาสตร์
สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
สาขาเศรษฐศาสตร์
สาขาสังคมวิทยา
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
สาขาการศึกษา
ดนตรีวิทยา
มานุษยดุริยางควิทยา
ดนตรีศึกษา
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร ์
การจัดการการบิน
บริหารธุรกิจ
เทคโนโลยีอาหาร/โภชณาการอาหาร
การโรงแรม
วิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์
พยาบาลศาสตร์
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การท่องเที่ยว
ท่องเทียว - ชุมชนผูัสูงอายุ
วิศวกรรมศาสตร์ - พลังงาน
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย - ช่างยนต์
ลงทะเบียน